MyBraini มายไบรนี่ สมุนไพรบำรุงสมอง พัฒนาความจำ ป้องกันอัลไซเมอร์ สูตรเฉพาะคิดค้นโดย หมอแบงค์ จากการวิจัยและทดลองมากกว่า 10 ปี

เขียนรีวิว
฿2,890
Price in points: 2890 point
3855467
In stock
+
Buy now with 1-click

รายละเอียด

ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ช่วยบำรุงการทำงานของสมอง ให้เต็มประสิทธิภาพ เหมาะสำหรับ ผู้ใหญ่วัยทำงาน เพิ่ม ความสามารถในการคิดและตัดสินใจ เด็กวัยเรียน เพิ่ม ความสามารถในการจดจำ ผู้สูงอายุ เพิ่ม ความจำ และ ป้องกันโรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer)
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ช่วยบำรุงการทำงานของสมอง ให้เต็มประสิทธิภาพ เหมาะสำหรับผู้ใหญ่วัยทำงาน เพิ่ม ความสามารถในการคิดและตัดสินใจเด็กวัยเรียน เพิ่ม ความสามารถในการจดจำผู้สูงอายุ เพิ่ม ความจำ และ ป้องกันโรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer)
สมองเป็นส่วนสำคัญที่สุดของร่างกาย การดูแลสมองของเราให้ดีนั้น จึงจำเป็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้ดียิ่งขึ้น MyBraini (มายไบรนี่) ทำจากสมุนไพร 100% สามารถใช้ต่อเนื่องได้ โดยเชื้อไม่ดื้อยา ไม่เป็นพิษ ต่อตับและไต
Active Ingredients ส่วนประกอบสำคัญโสมเกาหลี ช่วยให้เซลล์ประสาทแข็งแรง ช่วยป้องกันความเสี่ยงต่อการเป็น โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimers) 12, 13เห็ดหลินจือ มีสารธรรมชาติ (26-Oxygenosterols Ganoderol) ช่วยในการ ล้างไขมันอุดตันส่วนเกินในระบบทางเดินประสาท ช่วยป้องกันความเสี่ยงและลดการเกิดของ คอเลสเตอรอล (Cholesterol) ในเส้นเลือด 11ตังกุย เพิ่มประสิทธิภาพการไหลเวียนเลือดในสมองให้ดีขึ้น เนื้องจากตังกุยมี สารธรรมชาติ (Phellopterin) ช่วยในการป้องกัน โรคไมเกรน (Migraine) และ โรคเกี่ยวกับระบบประสาทกลาง (Central Nervous System) 7, 8, 9, 10เก๋ากี้ มีสารธรรมชาติ (Zeaxanthin Dipalmitate) ช่วยในการบำรุงจอประสาทตา ป้องกัน โรคต้อหิน (Glaucoma) และ โรคจอประสาทตาเสื่อมเนื่องจากปัจจัยด้านอายุ (Age-Related Muscular Degeneration) 2, 3, 4, 5, 6งาดำ เพิ่มความจำ
ที่มา:
1. Food and Drug Administration สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, สืบค้นข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ อย. https://wwwapp1.fda.moph.go.th/logistics/food/FSerch.asp?id=food2. Cheng CY, Chung WY, Szeto YT, Benzie IF. Fasting plasma zeaxanthin response to Fructus barbarum L. (wolfberry; Kei Tze) in a food-based human supplementation trial. Br J Nutr. 2005;93(1):123-130.3. Chang RC, So KF. Use of anti-aging herbal medicine, Lycium barbarum, against aging-associated diseases. What do we know so far? Cell Mol Neurobiol. 2008;28(5):643-652.4. Breithaupt DE, Weller P, Wolters M, Hahn A. Comparison of plasma responses in human subjects after the ingestion of 3R,3R'-zeaxanthin dipalmitate from wolfberry (Lycium barbarum) and non-esterified 3R,3R'-zeaxanthin using chiral high-performance liquid chromatography. Br J Nutr. 2004;91(5):707-713.5. Chan HC, Chang RC, Koon-Ching Ip A, et al. Neuroprotective effects of Lycium barbarum Lynn on protecting retinal ganglion cells in an ocular hypertension model of glaucoma. Exp Neurol. 2007;203(1):269-273.6. Amagase H, Nance DM. A randomized, double-blind, placebo-controlled, clinical study of the general effects of a standardized Lycium barbarum (Goji) Juice, GoChi. J Altern Complement Med. 2008;14(4):403-412. 7. Dekermendjian K, Ai J, Nielsen M, et al. Characterisation of the furanocoumarin phellopterin as a rat brain benzodiazepine receptor partial agonist in vitro. Neurosci Lett. 1996;219:151-154 8. Bergendorff O, Dekermendjian K, Nielsen M, et al. Furanocoumarins with affinity to brain benzodiazepine receptors in vitro. Phytochemistry. 1997;44(6):1121-1124. 9. Matsumoto K, Kohno S, Ojima K, et al. Effects of methylenechloride-soluble fraction of Japanese angelica root extract, ligustilide and butylidenephthalide, on pentobarbital sleep in group-housed and socially isolated mice. Life Sci. 1998;62(23):2073-2082. 10. Holland S, Silberstein SD, Freitag F, Dodick DW, Argoff C, Ashman E; Quality Standards Subcommittee of the American Academy of Neurology and the American Headache Society. Evidence-based guideline update: NSAIDs and other complementary treatments for episodic migraine prevention in adults: report of the Quality Standards Subcommittee of the American Academy of Neurology and the American Headache Society. Neurology. 2012;78(17):1346-1353. 11. Hajjaj H, Macé C, Roberts M, Niederberger P, Fay LB. Effect of 26-oxygenosterols from Ganoderma lucidum and their activity as cholesterol synthesis inhibitors. Appl Environ Microbiol. 2005;71(7):3653-3658. 12. Lee MS, Yang EJ, Kim JI, Ernst E. Ginseng for cognitive function in Alzheimer's disease: a systematic review. J Alzheimers Dis. 2009;18(2):339-344. 13. Heo JH, Lee ST, Chu K, et al. An open-label trial of Korean red ginseng as an adjuvant treatment for cognitive impairment in patients with Alzheimer's disease. Eur J Neurol. 2008;15(8):865-868.

รีวิว

ยังไม่มีรีวิว